ด้านประกันคุณภาพ    ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝุป๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝับ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ

                                                  บทสรุปผู้บริหาร

                          ผลประเมินคุณภาพภายในวิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย

                                                ปีการศึกษา 2564

                                           วันที่ 14 กันยายน 2565

 

 

                                                           คณะกรรมการ

 

                             1. ศ.นพ.บวรศิลป์ เชาวน์ชื่น                           ประธานคณะกรรมการ

                    2. ผศ.ดร.ไมตรี ปะการะสังข์                           กรรมการ

                    3. ผศ.ดร.ชัยยนต์ เพาพาน                             กรรมการ

                    4. รศ.ดร.วิเชียร  ชิวพิมาย                              กรรมการ

                    5. ผศ. เสาวลักษณ์  แย้มตรี                            กรรมการ

         

                   

           

ชื่อหน่วยงาน ที่ตั้งและประวัติความเป็นมาโดยย่อ

          วิทยาลัยบัณฑิตเอเซียเป็นสถาบันการศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา  ยกระดับมาตรฐานการศึกษาของท้องถิ่น ตามปณิธานของศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์กระแส ชนะวงศ์ ที่ว่า “การศึกษาของชาวชนบท คืออนาคตขอประเทศไทย ”โดยมุ่งมั่นจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองการพัฒนาภูมิภาค และเป็นสถาบันการศึกษาที่พึ่งได้ของชุมชน ตามปณิธานของผู้ก่อตั้งที่ว่า “สถาบันการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน”

 

ปรัชญา วิสัยทัศน์ ปณิธาน พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตร์

           ปรัชญา วิสัยทัศน์ดี  มีวินัย  ใฝ่ใจวิทยบูรณาการ

          วิสัยทัศน์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งคุณภาพ และได้มาตรฐานสากล พร้อมประสานสัมพันธ์กับนานาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศในเอเซีย เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ  สังคม เทคโนโลยีและวัฒนธรรม

          ปณิธาน มุ่งมั่นผลิตบัณฑิตที่เรียนรู้ตลอดชีวิต มีจิตสาธารณะ รู้จักรับใช้สังคม เพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีวินัยและภาวะผู้นำ

          พันธกิจ

          1. ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสาธารณะรู้จักรับใช้สังคม สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต สังคม และประเทศชาติ รวมทั้งเป็นผู้ที่เรียนรู้ ก้าวทันโลกตลอดเวลา

          2. สร้างงานวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยี และองค์ความรู้ ใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อเรียนการสอนและสังคม เพื่อส่งผลให้วิทยาลัยก้าวสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ

          3. ให้บริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคม ทั้งภายในและต่างประเทศ มุ่งเน้นการมีจิตสำนึกที่ดี รับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ส่งเสริม ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย และภูมิปัญญาท้องถิ่น

          4. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เสริมสร้างความตระหนักความรักสามัคคีในหมู่คณะและสถาบัน โดยเน้นระบบการบริหารแบบธรรมาภิบาล สร้างความเป็นอัตลักษณ์

          5. พัฒนาอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ทั้งในด้านวิชาการ การวิจัยและการจัดการเรียนการสอน

          6. ประสานสัมพันธ์และร่วมเป็นเครือข่ายกับนานาชาติ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ ทั้งทางด้านการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศในเอเชีย

          ประเด็นยุทธศาสตร์
          เพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ พันธกิจ และวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ วิทยาลัยจึงได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ไว้จำนวน 7 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลิตและพัฒนาคุณภาพบัณฑิต

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาองค์ความรู้ การวิจัย และนวัตกรรม

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การให้บริการวิชาการแก่สังคม

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ

ยุทธศาสตร์ที่ 7 การเสริมสร้างความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์กับนานาชาติ

 

อัตลักษณ์ Core Values

         เก่ง (SKILL): CAS is committed to nurturing excellence professionals.       

         ดี (ETHICS): CAS is committed to cultivating a community with ethical values.                       

         มีภาวะผู้นำ (LEADERSHIP): CAS is dedicated to building a community that advocates sustainable leadership programs for the society and the environment.

เอกลักษณ์ ส่งเสริมกีฬา พัฒนาสังคม สานสัมพันธ์กับนานาชาติ

 

เครื่องหมายของวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย

 

          ตราสัญลักษณ์ของวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย เป็นภาพวงกลมซ้อนกัน ภายในวงกลมมีภาพแผนที่โลก โดยมีภาพแผนที่ประเทศไทยปรากฏอยู่ด้านหน้า ช่องว่างระหว่างวงกลมเขียนชื่อวิทยาลัยทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใต้วงกลมมีรูปช่อชัยพฤกษ์ไขว้กัน พื้นของเครื่องหมายเป็นสีขาวและตัวเครื่องหมายเป็นสีน้ำเงินโดยตลอด

          

          ความหมายของเครื่องหมาย

          แผนที่ประเทศไทยบนลูกโลก หมายถึง ปณิธานมุ่งมั่นที่จะพัฒนาวิทยาลัยบัณฑิตเอเซียให้เป็นสถาบัน การศึกษาระดับสากล การแลกเปลี่ยนความร่วมมือและการยอมรับจากสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ

         ช่อชัยพฤกษ์ไขว้  หมายถึง เครื่องหมายแห่งความสำเร็จ การแสดงถึงความเป็นไทยและความมีคุณธรรม ดังนั้นความหมายโดยรวมของตราเครื่องหมายวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย จึงหมายถึง ปณิธานที่มุ่งมั่นที่จะพัฒนาสถาบันให้ประสบความสำเร็จในระดับสากล  ด้วยความร่วมมือกับสถาบันในต่างประเทศ เพื่อมุ่งที่จะผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คุณธรรม มีเอกลักษณ์ของความเป็นไทย เป็นที่ยอมรับของทั้งในและต่างประเทศ

 

          สีประจำวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย        

          ได้แก่ สีเทา-ทอง โดยแต่ละสีมีความหมายดังนี้

          สีเทา  หมายถึง ความนอบน้อมถ่อมตน มีสัมมาคารวะ

          สีทอง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง ความก้าวหน้าทั้งทางด้านวิชาการและด้านเศรษฐกิจ                                                  

โครงสร้างองค์กรและโครงสร้างการบริหาร

               ภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิทยาลัย วิทยาลัยบัณฑิตเอเชียได้จัดโครงสร้างองค์กร ที่รับผิดชอบด้านการจัดการเรียนการสอน จำนวน 5 คณะ ประกอบด้วย

          1. คณะบริหารธุรกิจ

          2. คณะนิติศาสตร์

          3. คณะศิลปศาสตร์

          4. คณะพยาบาลศาสตร์

          5. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

          โดยมีหน่วยงานหลักที่ทำหน้าที่สนับสนุนภารกิจทั้ง 4 ด้าน และการบริหารงานทั่วไป จำนวน 9 สำนัก ประกอบด้วย

          1. สำนักอธิการบดี                    2. สำนักตรวจสอบภายใน                   

         3. สำนักกิจการนักศึกษา              4. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

         5. สำนักวิจัยและพัฒนา               6. สำนักหอสมุด

         7. สำนักทรัพยากรบุคคล              8. สำนักประกันคุณภาพ

         9. สำนักบัณฑิตศึกษา

 

หลักสูตร/สาขาวิชาที่เปิดสอน

          วิทยาลัยบัณฑิตเอเชียสอนในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ในปีการศึกษา 2564 มีหลักสูตรที่เปิดสอนทั้งสิ้น 18 หลักสูตร จำแนกเป็น ระดับปริญญาตรี 14 หลักสูตร  ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 1 หลักสูตร

ระดับปริญญาโท 3 หลักสูตร

 

บุคลากร

          ในปีการศึกษา 2564 วิทยาลัยบัณฑิตเอเชียมีบุคลากรทั้งสิ้น 158 คน แบ่งเป็นคณาจารย์ 123 คน และบุคลากรสายสนับสนุน 66

 

คุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการ

          ในปีการศึกษา 2564 วิทยาลัยบัณฑิตเอเชียมีอาจารย์รวมทั้งสิ้น 123 คน โดยมีคณาจารย์คุณวุฒิระดับปริญญาโท จำนวน 86 คน ระดับปริญญาเอก 15 คน ในจำนวนนี้เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ 15 คน รองศาสตราจารย์ 7 คน

งบประมาณ

          ปีการศึกษา 2564 วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย ได้จัดสรรงบประมาณโดยมีสินทรัพย์ ประกอบด้วยสินทรัพย์หมุนเวียน 188,577,120.79 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 81,064,393.56 หนี้สิน ประกอบด้วยหนี้สินหมุนเวียน 29,349,854.63 หนี้สินไม่หมุนเวียน 32,597,587.04 ทุนสะสม ประกอบด้วยกองทุนทั่วไป 83,013,143.24กองทุนสินทรัพย์ถาวร 6,608,363.89 กองทุนวิจัย 6,278,555.65 กองทุนห้องสมุดและเทคโนโลยี 7,261,985.56กองทุนพัฒนาบุคลากร 4,007,498.38 กองทุนสงเคราะห์ (3,764,464.05) และกองทุนคงเงินต้น 1,100,839.64

 

จำนวนนักศึกษา

          จำนวนนักศึกษาทั้งหมดในปีการศึกษา 2564 จำนวน 2,167 คน ประกอบด้วย นักศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 1,600 คน ระดับปริญญาโทจำนวน 210 คน และระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 357 คน

 

 

                            จุดเด่นและข้อเสนอแนะรายองค์ประกอบ

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

จุดเด่น

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

1. สถาบันมีระบบและกลไกในการกำกับติดตามการดําเนินงานของหลักสูตรไว้อย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม สามารถนําไปสู่การปฏิบัติได้ ทำให้เกิดกระบวนการการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ และมีผลการประเมินคุณภาพผ่านในระดับ ดี และดีมาก โดยภาพรวมอยู่ในระดับ ดี การกำกับมาตรฐานทุกหลักสูตร ซึ่งสะท้อนการบริหารจัดการหลักสูตรในภาพรวมที่มีคุณภาพดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

2. สถาบันมีระบบและกลไกในการให้คำปรึกษา และแนะแนวทางการสู่อาชีพได้อย่างเป็นรูปธรรม เช่น ระบบพี่เลี้ยงนักศึกษา ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ (CAS-UBI) การจัดระบบการให้ข้อมูลข่าวสาร ช่องทางที่หลากหลาย

และกิจกรรมการเตรียมความพร้อมเมื่อสำเร็จการศึกษาโดยมีการติดตามและประเมินผลอย่างชัดเจน 

 

1. สถาบันควรกำหนดแผนการพัฒนาอาจารย์ทั้งด้านการการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น และกำหนดสัดส่วนที่เหมาะสมในการส่งเสริมให้มีตำแหน่งทางวิชาการแต่ละปีงบประมาณ อย่างน้อยร้อยละ 3 -5 ของจำนวนอาจารย์ทั้งหมด ที่สอดรับกับพันธกิจด้านการพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพ วิชาการและการวิจัย

2. ไม่ปรากฏผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของนักศึกษาและบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา สถาบันควรนำข้อเสนอแนะที่ดีมาปรับปรุง และพัฒนากิจกรรมเพื่อการบริการที่สร้างประโยชน์ต่อนักศึกษาและสังคมเป็นไปตามยุทธศาสตร์ของสถาบัน และอัตลักษณ์ของนักศึกษา “เก่ง ดี มีภาวะผู้นำ”      

3. ไม่ปรากฏผลการประเมินกิจกรรมเพื่อการพัฒนานักศึกษาที่สะท้อนถึงผลลัพธ์ที่ความคุ้มค่าของโครงการ/กิจกรรมที่เกิดกับตัวนักศึกษาที่เชื่อมโยงกับชุมชนและสังคม เช่น การรณรงค์พิษภัยของบุหรี่ ยาเสพติดฯ สถาบันควรมีกลไกดำเนินการ และกำกับติดตามให้เกิดผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมอย่างจริงจัง

4. สถาบันควรมีกิจกรรมที่มุ่งสนับสนุน และเสริมสร้างการพัฒนา Upskills, Reskills, Soft skill, และHard skill มากขึ้น ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในยุคปัจจุบัน และส่งเสริมความสำเร็จเพื่อการทำงานในอนาค

 

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

จุดเด่น

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

1. มีระบบและกลไกสนับสนุน และขับเคลื่อนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่มีประสิทธิภาพได้แก่ ระบบการผลิตและเผยแพร่งานวิจัย การยกย่องผู้มีผลงานวิจัยดีเด่น ระบบการคุ้มครองสิทธิ์ในงานวิจัย ระบบตรวจสอบอัครวิสุทธิ์ และข้อกฎหมายต่างๆ และที่สำคัญมีกลไกการขับเคลื่อนงานวิจัยให้สำเร็จ ได้แก่ คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งหมด 5 ชุด

2. มีกิจกรรมทางวิชาการที่สร้างคุณภาพและชื่อเสียงสถาบันที่เปิดโอกาสให้นักวิชาการ นักวิจัยได้แสดงศักยภาพ และนำเสนอผลงานทางวิชาการโดยมีภาคีเครือข่ายสถาบันทั้งภายใน และต่างประเทศ เช่นการจัดประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ที่ชื่อว่า CASNIC ต่อเนื่องจนเป็นปีที่ 9 และประการสำคัญ สถาบันได้สนับสนุนการทำวิจัย และเผยแพร่ผลงานในเวทีนี้อย่างมากมายมาตลอดทุกปี เป็นการสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการและคุณภาพบุคลากรทุกระดับ สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของสถาบัน

1. สถาบันควรมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ผลงานวิจัยถึงความสอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์ของสถาบันเพื่อนำไปสู่การใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง และสะท้อนถึงความคุ้มค่าในการสนับสนุนเงินทุนเพื่อการวิจัย

2. สถาบันควรมีการทบทวนการกำกับกรอบทิศทาง นโยบายด้านการสร้างผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างก้าวกระโดด และมุ่งเป้าให้เป็นไปตามทิศที่ต้องการเพื่อเตรียมความพร้อมในการยกระดับสถาบันให้เป็น “มหาวิทยาลัยอย่างสมบูรณ์แบบ” ในอนาคต

3. สถาบันควรกำกับติดตามหน่วยงานภายในที่มีผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่ำ หรือได้รับงบประมาณสนับสนุนไม่เพียงพอ เพื่อสร้างความเสมอภาคทางวิชาการ และศักยภาพของอาจารย์ที่จะนำไปสู่การสร้างคุณภาพนักศึกษา และสถาบันต่อไป

 

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

จุดเด่น

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

 

 

 

 

 

 

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม

จุดเด่น

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

1. สถาบันมีกลไกในการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำนดไว้ ได้แก่ คณะกรรมการรับผิดชอบ แผนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โครงการ/กิจกรรม และการกำกับติดตาม ทำให้ผลการดำเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมาย ได้แก่ ผลการประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ตามวัตถุประสงค์มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ 3.51-5 และการบูรณาการกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับกิจกรรมพัฒนานักศึกษาของโครงการคิดเป็น ร้อยละ 100

2. สถาบันมีการเผยแพร่กิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมต่อชุมชน และมีระบบการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางหลายช่องทาง รวมทั้งการนำนักศึกษาปฏิบัติธรรมเพื่อสร้างจิตที่เป็นกุศล และจิตสาธารณะ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม และอัตลักษณ์ คือ ดี และมีภาวะผู้นำ

 

สถาบันควรมีการศึกษา คนควา และวิจัยเพื่อสร้างจุดเด่นทางศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อเป็นจุดขายบนพื้นฐานความหลากหลายของบุคลากรในคณะต่างๆ และสร้างพื้นที่นวัตกรรมทางวัฒนธรรมในเขตอำเภอพลด้วยการกำหนดระบบ และกลไกลในการขับเคลื่อนให้เกิดผลเชิงประจักษ์ และผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับ ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของสถาบัน

 

 

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

จุดเด่น

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

 

 

 

 

 

 

ตารางบันทึกข้อมูลการดำเนินงานตัวบ่งชี้ประกันคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2564

                       คะแนนระดับสถาบัน วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย

 

 

 

องค์ประกอบและตัวบ่งชี้

คะแนน

หมายเหตุ

องค์ประกอบที่ 1 : การผลิตบัณฑิต

 

 

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม  (ผลลัพธ์)

3.76

 

1.2 อาจารย์ประจำสถาบันที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก(ปัจจัยนำเข้า)

2.74

 

1.3 อาจารย์ประจำสถาบันที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ (ปัจจัยนำเข้า)

1.49

 

1.4 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี  (กระบวนการ)

5.00

 

1.5 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี (กระบวนการ)

5.00

 

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 1

3.60

 

องค์ประกอบที่ 2 : บัณฑิต

 

 

2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์(กระบวนการ)

5.00

 

2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์(ปัจจัยนำเข้า)

3.29

 

2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย (ผลลัพธ์)

4.28

 

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2

4.19

 

องค์ประกอบที่ 3 : นักศึกษา

 

 

3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม

5.00

 

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3

5.00

 

องค์ประกอบที่ 4 : อาจารย์

 

 

4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม  (กระบวนการ)

5.00

 

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4

5.00

 

องค์ประกอบที่ 5 : หลักสูตรการเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

 

 

5.1 การบริหารของสถาบันเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของสถาบัน  (กระบวนการ)

5.00

 

5.2 ผลการบริหารงานของคณะ (ผลลัพธ์)

4.29

 

5.3 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร  (กระบวนการ)

5.00

 

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5

4.76

 

คะแนนเฉลี่ยของผลการประเมินองค์ประกอบที่ 1-5 (รวม 13 ตัวบ่งชี้)

4.22

 

   

 

   

                ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน

                                      ปีการศึกษา 2564

                                   วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย

องค์ ประกอบคุณภาพ

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน

 

จำนวนตัวบ่งชี้

I

P

O

 

คะแนนเฉลี่ย

 0.0 - 1.50 การดำเนินงานต้องปรับปรุง

1.0 เร่งด่วน

1.51 - 2.50 การดำเนินงานต้องปรับปรุง

2.51 - 3.50 การดำเนินงานระดับพอใช้

3.51 - 4.50 การดำเนินงานระดับดี

4.51 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก

1

5

2.12

5.00

3.76

3.60

การดำเนินงานระดับดี

2

3

3.29

5.00

4.28

4.19

การดำเนินงานระดับดี

3

1

-

5.00

-

5.00

การดำเนินงานระดับดีมาก

4

1

-

5.00

-

5.00

การดำเนินงานระดับดีมาก

5

3

-

5.00

4.29

4.76

การดำเนินงานระดับดีมาก

รวม

13

2.51

5.00

4.11

4.22

การดำเนินงานระดับดี

ผลการประเมิน

การดำเนินงานต้องปรับปรุง

การดำเนินงานระดับดีมาก

การดำเนินงานระดับดี

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับคณะ

     ปีการศึกษา 2564

คณะ

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก (I)

1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ (i)

1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ(i)

1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี (P)

1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี (P)

2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ (P)

2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ (I)

2.3 ผลงานทางงวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย (O)

3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม (P)

4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม (P)

5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ (P)

5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร (P)

คะ

แนน

ระดับคุณ

ภาพ

1. นิติศาสตร์

3.90

2.50

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

3.96

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

4.64

ดีมาก

2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3.49

1.25

2.08

5.00

5.00

5.00

5.00

3.79

3.17

5.00

5.00

5.00

5.00

4.14

ดี

3. พยาบาลศาสตร์

4.08

0.70

1.39

5.00

5.00

5.00

5.00

2.37

3.24

5.00

5.00

5.00

5.00

3.98

ดี

4. ศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์

3.81

5.00

2.08

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

4.68

ดีมาก

5. บริหารธุรกิจ

3.82

2.21

0.25

5.00

5.00

5.00

5.00

1.35

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

4.05

ดี

                    

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตรปริญญาตรี

ปีการศึกษา 2564

 

หลักสูตร

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม(O)

2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ) (O)

2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี (O)

3.1 ระบบการรับนักศึกษา (P)

3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา (P)

3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา (O)

4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ (P)

4.2 คุณภาพอาจารย์ (I)

4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ (P)

5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร (P)

5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการเรียนการสอน (P)

5.3 การประเมินผู้เรียน (P)

5.4  ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (P)

  6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ผลประเมิน

ระดับคุณภาพ

1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผ่านการประเมิน

4.59

5

3

3

3

3

1.33

3

3

3

3

5

4

3.38

ดี

2. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก

ผ่านการประเมิน

4.88

5

4

4

3

4

1.67

4

3

3

3

5

4

3.73

ดี

3. หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต

ผ่านการประเมิน

4.78

5

3

3

3

3

0.89

3

3

3

3

5

3

3.28

ดี

4. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยและการประถมศึกษา

ผ่านการประเมิน

-

-

4

4

3

4

3.33

4

3

3

3

5

4

3.67

ดี

5. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศและการตลาดดิจิทัล

ผ่านการประเมิน

4.53

5

3

4

3

4

3.33

4

3

3

3

5

4

3.76

ดี

6. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชาภาษาอังกฤษ)

ผ่านการประเมิน

4.64

5

3

4

3

3

1.67

4

3

4

3

5

4

3.64

ดี

7. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชาภาษาอังกฤษศึกษา)

ผ่านการประเมิน

-

-

3

4

3

3

4.44

4

3

3

3

5

4

3.59

ดี

8. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการจัดการสุขภาพ

ผ่านการประเมิน

-

-

3

3

2

3

1.67

2

4

3

3

5

4

3.06

ดี

9. หลักสูตรบัญชีบัณฑิต

ผ่านการประเมิน

4.81

5

3

4

3

3

1.67

4

4

4

4

5

4

3.81

ดี

10. หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต

ผ่านการประเมิน

4.64

5

4

3

3

3

5.00

4

3

4

3

5

4

3.90

ดี

11. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจกีฬา

ผ่านการประเมิน

4.50

5

4

4

3

4

3.89

4

3

4

3

5

4

3.95

ดี

12. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมทางธุรกิจ

ผ่านการประเมิน

4.82

5

4

4

3

4

1.67

4

3

4

3

5

4

3.81

ดี

13. หลักสูตรพยาบาล

ศาสตรบัณฑิต

ผ่านการประเมิน

4.58

5

4

4

3

4

4.44

4

4

4

3

5

4

4.08

ดีมาก

14. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ผ่านการประเมิน

4.79

5

4

4

4

3

1.67

4

4

3

3

5

4

3.80

ดี

 

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต

ปีการศึกษา 2564

 

หลักสูตร

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม(O)

12.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ) (O)

2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี (O)

3.1 ระบบการรับนักศึกษา (P)

3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา (P)

3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา (O)

4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ (P)

4.2 คุณภาพอาจารย์ (I)

4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ (P)

5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร (P)

5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการเรียนการสอน (P)

5.3 การประเมินผู้เรียน (P)

5.4  ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (P)

  6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ผลประเมิน

ระดับคุณภาพ

1. หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู

ผ่านการประเมิน

4.69

-

4

4

3

4

3.89

4

4

4

4

5

4

4.05

ดีมาก

 

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตรปริญญาโท

ปีการศึกษา 2564

 

หลักสูตร

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม(O)

12.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ) (O)

2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี (O)

3.1 ระบบการรับนักศึกษา (P)

3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา (P)

3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา (O)

4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ (P)

4.2 คุณภาพอาจารย์ (I)

4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ (P)

5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร (P)

5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการเรียนการสอน (P)

5.3 การประเมินผู้เรียน (P)

5.4  ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (P)

  6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ผลประเมิน

ระดับคุณภาพ

1. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

ผ่านการประเมิน

4.90

5

4

3

3

4

3.33

4

4

3

3

5

4

3.86

ดี

2. หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

ผ่านการประเมิน

4.99

2.25

4

4

4

4

5.00

4

4

4

4

5

4

4.10

ดีมาก

3. หลักสูตรสาธารณสุข

ศาสตรมหาบัณฑิต

ผ่านการประเมิน

4.74

5

4

4

3

4

5.00

4

4

4

4

5

4

4.13

ดีมาก

 

 

 

ขอขอบคุณข้อมูลที่ได้จาก ผศ.ยุวรัตน์  ฐิตินิรันดร์กุล